messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง info_outline ข้อมูลการติดต่อ

องค์การบริหารส่วนตำบล
สำโรง
อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์
info_outline วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์หน่วยงานวิสัยทัศน์การพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง “ เป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์ ประชาชนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ มีบ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ทำให้ประชาชนสุขภาพดี โดยมีครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง”
สัญลักษณ์หน่วยงานรอปรับปรุง
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนา
องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง

 
“ เป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์  ประชาชนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ มีบ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ทำให้ประชาชนสุขภาพดี โดยมีครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง”

วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนา องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง “ เป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์ ประชาชนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ มีบ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ทำให้ประชาชนสุขภาพดี โดยมีครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง”
สัญลักษณ์หน่วยงาน

รอปรับปรุง
วิสัยทัศน์หน่วยงาน

วิสัยทัศน์การพัฒนา
องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง

 
“ เป็นชุมชนเกษตรอินทรีย์  ประชาชนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ มีบ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ทำให้ประชาชนสุขภาพดี โดยมีครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง”

verified_user ข้อมูลหน่วยงาน
สภาพทั่วไปสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ๑. ด้านกายภาพ ๑.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง • หมู่บ้านสำโรงเดิมขึ้นกับตำบลบ้านไทร เมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๓ ต่อมาย้ายมาขึ้นกับตำบลแสลงโทน ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้มีการแบ่งเขตพื้นที่อำเภอใหม่ ตำบลสำโรงได้มาขึ้นกับอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ปี พ.ศ.๒๕๓๘ กระทรวงมหาดไทยมีประกาศยกฐานะเป็นสภาตำบลสำโรง และได้ยกฐานะจากสภาตำบลสำโรง เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๙ องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง ได้ดำเนินการขอปรับขนาดจากองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็ก เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ตำบลสำโรง เป็นตำบลหนึ่งในห้าตำบลของอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพลับพลาชัย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ๑.๒ เนื้อที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๕๔.๗๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓๕,๗๑๑ ไร่ ๑.๓ ภูมิประเทศและอาณาเขต • ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง โดยอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล ๑๕๐-๑๘๐ เมตร มีคลองน้ำห้วยระกา และชลประทานเป็นแหล่งน้ำสำคัญทางการเกษตร • อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลหลักเขตและตำบลสะแกซำ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลสะเดา อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลแสลงโทน อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลโคกขมิ้น อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ๒. ด้านการเมือง/การปกครอง ๒.๑ แบ่งการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ จำนวน ๑๑ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้านสำโรง หมู่ที่ ๒ บ้านสำโรง หมู่ที่ ๓ บ้านตะโกรี หมู่ที่ ๔ บ้านเสม็ด หมู่ที่ ๕ บ้านกัดลิ้น หมู่ที่ ๖ บ้านโสน หมู่ที่ ๗ บ้านประดู่ หมู่ที่ ๘ บ้านประทัดบุ หมู่ที่ ๙ บ้านพนาวัน หมู่ที่ ๑๐ บ้านไทรงาม หมู่ที่ ๑๑ บ้านเทวัญ ๒.๒ เขตการเลือกตั้งทั้งตำบล ๑ เขตเลือกตั้ง สมาชิกสภาออกเป็น ๑๑ เขต ๓. ประชากร ๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น ๘,๓๕๗ คน แยกเป็น ชาย ๔,๒๖๕ คน หญิง ๔,๐๙๒ คน จำนวน ๑,๙๖๙ ครัวเรือน ๔. สภาพสังคม ๔.๑ การศึกษา • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเกณฑ์ ๔ แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สำโรง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านเสม็ด - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนพุทธบารมี - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านตะโกรี • โรงเรียนระดับประถมศึกษา ๕ แห่ง - โรงเรียนวัดสำโรง - โรงเรียนบ้านตะโกรี - โรงเรียนบ้านเสม็ด - โรงเรียนพุทธบารมี - โรงเรียนบ้านประดู่ • ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน ๑๐ แห่ง • ศูนย์อินเตอร์เน็ตตำบล ๑ แห่ง • ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ๑ แห่ง ๔.๒ สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด / สำนักสงฆ์ ๖ แห่ง ๔.๓ การสาธารณสุข - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำโรง ๑ แห่ง - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ๑๐๐ % ๔.๔ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ๑ แห่ง ๕. ระบบบริการพื้นฐาน ๕.๑ การคมนาคม - เส้นทางการคมนาคม ส่วนมากเป็นถนนลูกรังและถนนหินคลุกซึ่งส่วนมากเป็นสภาพชำรุดทรุดโทรม ทำให้การสัญจรไปมาไม่สะดวกโดยเฉพาะในฤดูฝน ๕.๒ การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข (ย่อย) ๑ แห่ง - โทรศัพท์สาธารณะ ๑๑ แห่ง ๕.๓ การไฟฟ้า - มีไฟฟ้าใช้ยังไม่ครบทุกครัวเรือนเนื่องจากมีการก่อสร้างบ้านใหม่และอยู่ที่ห่างไกลชุมชน ๖. สภาพทางเศรษฐกิจ ๖.๑ อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ เป็นรายได้หลักของครอบครัว โดยหลังฤดูเก็บเกี่ยวมีอาชีพเสริมคือรับจ้างทั่วไป รวมทั้งอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ๖.๒ หน่วยธุรกิจในเขต อบต. - โรงสี (ขนาดเล็ก) ๑๗ แห่ง - ค้าขาย ๘๙ แห่ง ๗. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านเกษตรและท้องถิ่น) ๗.๑ ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน ๗.๒ ข้อมูลด้านเกษตรกรรม ๗.๓ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร ๗.๔ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ ๘. ศาสนา ประพณี วัฒนธรรม ๘.๑ การนับถือศาสนา - ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๘ ๘.๒ ประเพณี และง่านประจำปี - ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม - ประเพณีแห่เจ้าพ่อหน่วง ประมาณเดือน มกราคม - แห่ช้างสืบสานประเพณีบุญผะเหวด ประมาณเดือน เมษายน - ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือน พฤษภาคม - ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน - ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน พฤศจิกายน - ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน ๘.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ส่วนมากร้อยละ ๙๐ % พูดภาษาอิสาน ๘.๔ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม วิธีการทอเสื่อจากต้นกก และวิธีการจับปลาธรรมชาติ ๘.๕ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่ และขนมนางเล็ด ๙. ทรัพยากรธรรมชาติ ๙.๑ แหล่งน้ำ ๙.๑.๑ แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำห้วย,ลำน้ำ ๙ สาย - หนองน้ำ ๖ แห่ง - สระน้ำ ๙ แห่ง ๙.๑.๒ แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - ฝายน้ำล้น ๕ แห่ง - บ่อน้ำตื้น ๑ แห่ง - บ่อบ่อบาดาล ๖๐ แห่ง - ใช้ได้ ๒๕ แห่ง - ใช้ไม่ได้ ๓๕ แห่ง - ประปา ๑๓ แห่ง - ใช้ได้ ๙ แห่ง - ใช้ไม่ได้ ๑ แห่ง - ถังน้ำ คสล ๙ แห่ง (ใช้ได้ทั้งหมด) ๙.๒ ป่าไม้ มีพื้นที่ป่าไม้เหลืออยู่รวม ๐.๖๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๔๐๐ ไร่ บริเวณหมู่ที่ ๓ บ้านตะโกรี ๑๐. อื่น ๆ (ถ้ามีระบุด้วย) ๑๐.๑ กลุ่มมวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน ๓ รุ่น ๔๕๐ คน - ศูนย์อาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ๓ รุ่น ๑๔๖ คน
สภาพทั่วไป
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
 ๑. ด้านกายภาพ
๑.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง  
               • หมู่บ้านสำโรงเดิมขึ้นกับตำบลบ้านไทร เมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๓ ต่อมาย้ายมาขึ้นกับตำบลแสลงโทน      ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้มีการแบ่งเขตพื้นที่อำเภอใหม่ ตำบลสำโรงได้มาขึ้นกับอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์  ปี พ.ศ.๒๕๓๘ กระทรวงมหาดไทยมีประกาศยกฐานะเป็นสภาตำบลสำโรง และได้ยกฐานะจากสภาตำบลสำโรง เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง  เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๙  องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง ได้ดำเนินการขอปรับขนาดจากองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็ก เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑    ตำบลสำโรง เป็นตำบลหนึ่งในห้าตำบลของอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์  ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพลับพลาชัย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๑๕ กิโลเมตร                                                                                                 
๑.๒  เนื้อที่
มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  ๕๔.๗๖  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ  ๓๕,๗๑๑  ไร่
๑.๓  ภูมิประเทศและอาณาเขต
• ลักษณะภูมิประเทศ  โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง  โดยอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล ๑๕๐-๑๘๐ เมตร มีคลองน้ำห้วยระกา และชลประทานเป็นแหล่งน้ำสำคัญทางการเกษตร
• อาณาเขต
ทิศเหนือ         ติดต่อกับตำบลหลักเขตและตำบลสะแกซำ  อำเภอเมือง               จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศใต้             ติดต่อกับตำบลสะเดา                                อำเภอพลับพลาชัย     จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันตก    ติดต่อกับตำบลแสลงโทน                           อำเภอประโคนชัย      จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก  ติดต่อกับตำบลโคกขมิ้น                             อำเภอพลับพลาชัย     จังหวัดบุรีรัมย์
๒. ด้านการเมือง/การปกครอง
๒.๑  แบ่งการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗  จำนวน  ๑๑  หมู่บ้าน    ได้แก่
หมู่ที่  ๑ บ้านสำโรง                 หมู่ที่  ๒ บ้านสำโรง
หมู่ที่  ๓ บ้านตะโกรี                หมู่ที่  ๔ บ้านเสม็ด
หมู่ที่  ๕ บ้านกัดลิ้น                หมู่ที่  ๖  บ้านโสน
หมู่ที่  ๗ บ้านประดู่                 หมู่ที่  ๘ บ้านประทัดบุ
หมู่ที่  ๙ บ้านพนาวัน              หมู่ที่ ๑๐ บ้านไทรงาม
หมู่ที่ ๑๑ บ้านเทวัญ
๒.๒  เขตการเลือกตั้งทั้งตำบล   ๑  เขตเลือกตั้ง  สมาชิกสภาออกเป็น  ๑๑  เขต                          
๓. ประชากร
๓.๑  ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
ประชากรทั้งสิ้น  ๘,๓๕๗  คน  แยกเป็น ชาย  ๔,๒๖๕  คน หญิง ๔,๐๙๒ คน จำนวน ๑,๙๖๙  ครัวเรือน
๔. สภาพสังคม
๔.๑ การศึกษา
• ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเกณฑ์   ๔   แห่ง
  -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สำโรง
   -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านเสม็ด
     -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนพุทธบารมี
   -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านตะโกรี
• โรงเรียนระดับประถมศึกษา   ๕   แห่ง                                                                              
    -  โรงเรียนวัดสำโรง
    -  โรงเรียนบ้านตะโกรี
  -  โรงเรียนบ้านเสม็ด
    -  โรงเรียนพุทธบารมี
-  โรงเรียนบ้านประดู่                                                                                                                                             • ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน    ๑๐  แห่ง 
• ศูนย์อินเตอร์เน็ตตำบล                                   ๑       แห่ง
• ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน                                      ๑       แห่ง
๔.๒ สถาบันและองค์กรทางศาสนา
        - วัด / สำนักสงฆ์                                      ๖       แห่ง
๔.๓ การสาธารณสุข
        - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำโรง       ๑       แห่ง
        - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ                        ๑๐๐   %                                                                             
๔.๔ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
        - ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)   ๑    แห่ง                                                
๕. ระบบบริการพื้นฐาน
 ๕.๑  การคมนาคม                                                                                                                                                                            - เส้นทางการคมนาคม  ส่วนมากเป็นถนนลูกรังและถนนหินคลุกซึ่งส่วนมากเป็นสภาพชำรุดทรุดโทรม  ทำให้การสัญจรไปมาไม่สะดวกโดยเฉพาะในฤดูฝน
๕.๒  การโทรคมนาคม
                      - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข (ย่อย)                  ๑       แห่ง
                      - โทรศัพท์สาธารณะ                                    ๑๑      แห่ง     
๕.๓  การไฟฟ้า 
                      - มีไฟฟ้าใช้ยังไม่ครบทุกครัวเรือนเนื่องจากมีการก่อสร้างบ้านใหม่และอยู่ที่ห่างไกลชุมชน                                                                                                  
๖.  สภาพทางเศรษฐกิจ
๖.๑  อาชีพ
                     ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  เช่น  ทำนา  ทำสวน  ปลูกผัก  เลี้ยงสัตว์ เป็นรายได้หลักของครอบครัว โดยหลังฤดูเก็บเกี่ยวมีอาชีพเสริมคือรับจ้างทั่วไป รวมทั้งอพยพไปทำงานต่างจังหวัด
 ๖.๒  หน่วยธุรกิจในเขต อบต.
         - โรงสี (ขนาดเล็ก)                                ๑๗      แห่ง
- ค้าขาย                                               ๘๙     แห่ง
๗. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านเกษตรและท้องถิ่น)
๗.๑  ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน
๗.๒  ข้อมูลด้านเกษตรกรรม
๗.๓  ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
๗.๔  ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้
 ๘. ศาสนา ประพณี วัฒนธรรม
๘.๑  การนับถือศาสนา
-  ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ  ร้อยละ  ๙๘
๘.๒  ประเพณี และง่านประจำปี
-  ประเพณีวันขึ้นปีใหม่        ประมาณเดือน    มกราคม
-  ประเพณีแห่เจ้าพ่อหน่วง ประมาณเดือน   มกราคม
-  แห่ช้างสืบสานประเพณีบุญผะเหวด ประมาณเดือน    เมษายน
-  ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือน    พฤษภาคม
-  ประเพณีวันสงกรานต์        ประมาณเดือน    เมษายน
-  ประเพณีลอยกระทง        ประมาณเดือน    พฤศจิกายน
-  ประเพณีวันเข้าพรรษา  ออกพรรษา ประมาณเดือน  กรกฎาคม  ตุลาคม  พฤศจิกายน
๘.๓  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ส่วนมากร้อยละ ๙๐ %  พูดภาษาอิสาน  
๘.๔  ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ใช้สำหรับในครัวเรือน  วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม  วิธีการทอเสื่อจากต้นกก  และวิธีการจับปลาธรรมชาติ
๘.๕  สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก 
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม  เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่ และขนมนางเล็ด    
 ๙. ทรัพยากรธรรมชาติ
๙.๑ แหล่งน้ำ
๙.๑.๑  แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำห้วย,ลำน้ำ ๙        สาย
- หนองน้ำ          ๖        แห่ง
- สระน้ำ ๙        แห่ง
๙.๑.๒ แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝายน้ำล้น ๕        แห่ง
- บ่อน้ำตื้น ๑        แห่ง
- บ่อบ่อบาดาล ๖๐      แห่ง
-  ใช้ได้ ๒๕      แห่ง
-  ใช้ไม่ได้         ๓๕      แห่ง
-  ประปา ๑๓      แห่ง
-  ใช้ได้  ๙       แห่ง
-  ใช้ไม่ได้         ๑        แห่ง
-  ถังน้ำ  คสล ๙        แห่ง  (ใช้ได้ทั้งหมด)
๙.๒ ป่าไม้   
มีพื้นที่ป่าไม้เหลืออยู่รวม   ๐.๖๔  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ  ๔๐๐  ไร่ บริเวณหมู่ที่ ๓  บ้านตะโกรี
๑๐. อื่น ๆ (ถ้ามีระบุด้วย)
๑๐.๑  กลุ่มมวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน         ๓    รุ่น    ๔๕๐    คน
- ศูนย์อาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ๓    รุ่น    ๑๔๖    คน

 

ข้อมูลหน่วยงาน
สภาพทั่วไป

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ๑. ด้านกายภาพ ๑.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง • หมู่บ้านสำโรงเดิมขึ้นกับตำบลบ้านไทร เมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๓ ต่อมาย้ายมาขึ้นกับตำบลแสลงโทน ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้มีการแบ่งเขตพื้นที่อำเภอใหม่ ตำบลสำโรงได้มาขึ้นกับอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ปี พ.ศ.๒๕๓๘ กระทรวงมหาดไทยมีประกาศยกฐานะเป็นสภาตำบลสำโรง และได้ยกฐานะจากสภาตำบลสำโรง เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๙ องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง ได้ดำเนินการขอปรับขนาดจากองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็ก เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ตำบลสำโรง เป็นตำบลหนึ่งในห้าตำบลของอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพลับพลาชัย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๑๕ กิโลเมตร ๑.๒ เนื้อที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ ๕๔.๗๖ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๓๕,๗๑๑ ไร่ ๑.๓ ภูมิประเทศและอาณาเขต • ลักษณะภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง โดยอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล ๑๕๐-๑๘๐ เมตร มีคลองน้ำห้วยระกา และชลประทานเป็นแหล่งน้ำสำคัญทางการเกษตร • อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลหลักเขตและตำบลสะแกซำ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลสะเดา อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลแสลงโทน อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลโคกขมิ้น อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ๒. ด้านการเมือง/การปกครอง ๒.๑ แบ่งการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ จำนวน ๑๑ หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ ๑ บ้านสำโรง หมู่ที่ ๒ บ้านสำโรง หมู่ที่ ๓ บ้านตะโกรี หมู่ที่ ๔ บ้านเสม็ด หมู่ที่ ๕ บ้านกัดลิ้น หมู่ที่ ๖ บ้านโสน หมู่ที่ ๗ บ้านประดู่ หมู่ที่ ๘ บ้านประทัดบุ หมู่ที่ ๙ บ้านพนาวัน หมู่ที่ ๑๐ บ้านไทรงาม หมู่ที่ ๑๑ บ้านเทวัญ ๒.๒ เขตการเลือกตั้งทั้งตำบล ๑ เขตเลือกตั้ง สมาชิกสภาออกเป็น ๑๑ เขต ๓. ประชากร ๓.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร ประชากรทั้งสิ้น ๘,๓๕๗ คน แยกเป็น ชาย ๔,๒๖๕ คน หญิง ๔,๐๙๒ คน จำนวน ๑,๙๖๙ ครัวเรือน ๔. สภาพสังคม ๔.๑ การศึกษา • ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเกณฑ์ ๔ แห่ง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สำโรง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านเสม็ด - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนพุทธบารมี - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านตะโกรี • โรงเรียนระดับประถมศึกษา ๕ แห่ง - โรงเรียนวัดสำโรง - โรงเรียนบ้านตะโกรี - โรงเรียนบ้านเสม็ด - โรงเรียนพุทธบารมี - โรงเรียนบ้านประดู่ • ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน ๑๐ แห่ง • ศูนย์อินเตอร์เน็ตตำบล ๑ แห่ง • ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ๑ แห่ง ๔.๒ สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด / สำนักสงฆ์ ๖ แห่ง ๔.๓ การสาธารณสุข - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำโรง ๑ แห่ง - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ๑๐๐ % ๔.๔ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ๑ แห่ง ๕. ระบบบริการพื้นฐาน ๕.๑ การคมนาคม - เส้นทางการคมนาคม ส่วนมากเป็นถนนลูกรังและถนนหินคลุกซึ่งส่วนมากเป็นสภาพชำรุดทรุดโทรม ทำให้การสัญจรไปมาไม่สะดวกโดยเฉพาะในฤดูฝน ๕.๒ การโทรคมนาคม - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข (ย่อย) ๑ แห่ง - โทรศัพท์สาธารณะ ๑๑ แห่ง ๕.๓ การไฟฟ้า - มีไฟฟ้าใช้ยังไม่ครบทุกครัวเรือนเนื่องจากมีการก่อสร้างบ้านใหม่และอยู่ที่ห่างไกลชุมชน ๖. สภาพทางเศรษฐกิจ ๖.๑ อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำสวน ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ เป็นรายได้หลักของครอบครัว โดยหลังฤดูเก็บเกี่ยวมีอาชีพเสริมคือรับจ้างทั่วไป รวมทั้งอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ๖.๒ หน่วยธุรกิจในเขต อบต. - โรงสี (ขนาดเล็ก) ๑๗ แห่ง - ค้าขาย ๘๙ แห่ง ๗. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านเกษตรและท้องถิ่น) ๗.๑ ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน ๗.๒ ข้อมูลด้านเกษตรกรรม ๗.๓ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร ๗.๔ ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ ๘. ศาสนา ประพณี วัฒนธรรม ๘.๑ การนับถือศาสนา - ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ ๙๘ ๘.๒ ประเพณี และง่านประจำปี - ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม - ประเพณีแห่เจ้าพ่อหน่วง ประมาณเดือน มกราคม - แห่ช้างสืบสานประเพณีบุญผะเหวด ประมาณเดือน เมษายน - ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือน พฤษภาคม - ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน - ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน พฤศจิกายน - ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน ๘.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ส่วนมากร้อยละ ๙๐ % พูดภาษาอิสาน ๘.๔ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม วิธีการทอเสื่อจากต้นกก และวิธีการจับปลาธรรมชาติ ๘.๕ สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่ และขนมนางเล็ด ๙. ทรัพยากรธรรมชาติ ๙.๑ แหล่งน้ำ ๙.๑.๑ แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำห้วย,ลำน้ำ ๙ สาย - หนองน้ำ ๖ แห่ง - สระน้ำ ๙ แห่ง ๙.๑.๒ แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - ฝายน้ำล้น ๕ แห่ง - บ่อน้ำตื้น ๑ แห่ง - บ่อบ่อบาดาล ๖๐ แห่ง - ใช้ได้ ๒๕ แห่ง - ใช้ไม่ได้ ๓๕ แห่ง - ประปา ๑๓ แห่ง - ใช้ได้ ๙ แห่ง - ใช้ไม่ได้ ๑ แห่ง - ถังน้ำ คสล ๙ แห่ง (ใช้ได้ทั้งหมด) ๙.๒ ป่าไม้ มีพื้นที่ป่าไม้เหลืออยู่รวม ๐.๖๔ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๔๐๐ ไร่ บริเวณหมู่ที่ ๓ บ้านตะโกรี ๑๐. อื่น ๆ (ถ้ามีระบุด้วย) ๑๐.๑ กลุ่มมวลชนจัดตั้ง - ลูกเสือชาวบ้าน ๓ รุ่น ๔๕๐ คน - ศูนย์อาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ๓ รุ่น ๑๔๖ คน
สภาพทั่วไป

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
 ๑. ด้านกายภาพ
๑.๑ ข้อมูลเกี่ยวกับที่ตั้ง  
               • หมู่บ้านสำโรงเดิมขึ้นกับตำบลบ้านไทร เมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๓ ต่อมาย้ายมาขึ้นกับตำบลแสลงโทน      ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๕๓๕ ได้มีการแบ่งเขตพื้นที่อำเภอใหม่ ตำบลสำโรงได้มาขึ้นกับอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์  ปี พ.ศ.๒๕๓๘ กระทรวงมหาดไทยมีประกาศยกฐานะเป็นสภาตำบลสำโรง และได้ยกฐานะจากสภาตำบลสำโรง เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง  เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๓๙  องค์การบริหารส่วนตำบลสำโรง ได้ดำเนินการขอปรับขนาดจากองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็ก เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๑    ตำบลสำโรง เป็นตำบลหนึ่งในห้าตำบลของอำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์  ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอพลับพลาชัย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ ๑๕ กิโลเมตร                                                                                                 
๑.๒  เนื้อที่
มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ  ๕๔.๗๖  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ  ๓๕,๗๑๑  ไร่
๑.๓  ภูมิประเทศและอาณาเขต
• ลักษณะภูมิประเทศ  โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง  โดยอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล ๑๕๐-๑๘๐ เมตร มีคลองน้ำห้วยระกา และชลประทานเป็นแหล่งน้ำสำคัญทางการเกษตร
• อาณาเขต
ทิศเหนือ         ติดต่อกับตำบลหลักเขตและตำบลสะแกซำ  อำเภอเมือง               จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศใต้             ติดต่อกับตำบลสะเดา                                อำเภอพลับพลาชัย     จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันตก    ติดต่อกับตำบลแสลงโทน                           อำเภอประโคนชัย      จังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก  ติดต่อกับตำบลโคกขมิ้น                             อำเภอพลับพลาชัย     จังหวัดบุรีรัมย์
๒. ด้านการเมือง/การปกครอง
๒.๑  แบ่งการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗  จำนวน  ๑๑  หมู่บ้าน    ได้แก่
หมู่ที่  ๑ บ้านสำโรง                 หมู่ที่  ๒ บ้านสำโรง
หมู่ที่  ๓ บ้านตะโกรี                หมู่ที่  ๔ บ้านเสม็ด
หมู่ที่  ๕ บ้านกัดลิ้น                หมู่ที่  ๖  บ้านโสน
หมู่ที่  ๗ บ้านประดู่                 หมู่ที่  ๘ บ้านประทัดบุ
หมู่ที่  ๙ บ้านพนาวัน              หมู่ที่ ๑๐ บ้านไทรงาม
หมู่ที่ ๑๑ บ้านเทวัญ
๒.๒  เขตการเลือกตั้งทั้งตำบล   ๑  เขตเลือกตั้ง  สมาชิกสภาออกเป็น  ๑๑  เขต                          
๓. ประชากร
๓.๑  ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
ประชากรทั้งสิ้น  ๘,๓๕๗  คน  แยกเป็น ชาย  ๔,๒๖๕  คน หญิง ๔,๐๙๒ คน จำนวน ๑,๙๖๙  ครัวเรือน
๔. สภาพสังคม
๔.๑ การศึกษา
• ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเกณฑ์   ๔   แห่ง
  -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สำโรง
   -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านเสม็ด
     -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนพุทธบารมี
   -  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนบ้านตะโกรี
• โรงเรียนระดับประถมศึกษา   ๕   แห่ง                                                                              
    -  โรงเรียนวัดสำโรง
    -  โรงเรียนบ้านตะโกรี
  -  โรงเรียนบ้านเสม็ด
    -  โรงเรียนพุทธบารมี
-  โรงเรียนบ้านประดู่                                                                                                                                             • ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน    ๑๐  แห่ง 
• ศูนย์อินเตอร์เน็ตตำบล                                   ๑       แห่ง
• ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน                                      ๑       แห่ง
๔.๒ สถาบันและองค์กรทางศาสนา
        - วัด / สำนักสงฆ์                                      ๖       แห่ง
๔.๓ การสาธารณสุข
        - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสำโรง       ๑       แห่ง
        - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ                        ๑๐๐   %                                                                             
๔.๔ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
        - ศูนย์อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)   ๑    แห่ง                                                
๕. ระบบบริการพื้นฐาน
 ๕.๑  การคมนาคม                                                                                                                                                                            - เส้นทางการคมนาคม  ส่วนมากเป็นถนนลูกรังและถนนหินคลุกซึ่งส่วนมากเป็นสภาพชำรุดทรุดโทรม  ทำให้การสัญจรไปมาไม่สะดวกโดยเฉพาะในฤดูฝน
๕.๒  การโทรคมนาคม
                      - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข (ย่อย)                  ๑       แห่ง
                      - โทรศัพท์สาธารณะ                                    ๑๑      แห่ง     
๕.๓  การไฟฟ้า 
                      - มีไฟฟ้าใช้ยังไม่ครบทุกครัวเรือนเนื่องจากมีการก่อสร้างบ้านใหม่และอยู่ที่ห่างไกลชุมชน                                                                                                  
๖.  สภาพทางเศรษฐกิจ
๖.๑  อาชีพ
                     ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  เช่น  ทำนา  ทำสวน  ปลูกผัก  เลี้ยงสัตว์ เป็นรายได้หลักของครอบครัว โดยหลังฤดูเก็บเกี่ยวมีอาชีพเสริมคือรับจ้างทั่วไป รวมทั้งอพยพไปทำงานต่างจังหวัด
 ๖.๒  หน่วยธุรกิจในเขต อบต.
         - โรงสี (ขนาดเล็ก)                                ๑๗      แห่ง
- ค้าขาย                                               ๘๙     แห่ง
๗. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านเกษตรและท้องถิ่น)
๗.๑  ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน
๗.๒  ข้อมูลด้านเกษตรกรรม
๗.๓  ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
๗.๔  ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้
 ๘. ศาสนา ประพณี วัฒนธรรม
๘.๑  การนับถือศาสนา
-  ผู้ที่นับถือศาสนาพุทธ  ร้อยละ  ๙๘
๘.๒  ประเพณี และง่านประจำปี
-  ประเพณีวันขึ้นปีใหม่        ประมาณเดือน    มกราคม
-  ประเพณีแห่เจ้าพ่อหน่วง ประมาณเดือน   มกราคม
-  แห่ช้างสืบสานประเพณีบุญผะเหวด ประมาณเดือน    เมษายน
-  ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือน    พฤษภาคม
-  ประเพณีวันสงกรานต์        ประมาณเดือน    เมษายน
-  ประเพณีลอยกระทง        ประมาณเดือน    พฤศจิกายน
-  ประเพณีวันเข้าพรรษา  ออกพรรษา ประมาณเดือน  กรกฎาคม  ตุลาคม  พฤศจิกายน
๘.๓  ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ส่วนมากร้อยละ ๙๐ %  พูดภาษาอิสาน  
๘.๔  ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ใช้สำหรับในครัวเรือน  วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม  วิธีการทอเสื่อจากต้นกก  และวิธีการจับปลาธรรมชาติ
๘.๕  สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก 
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม  เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่ และขนมนางเล็ด    
 ๙. ทรัพยากรธรรมชาติ
๙.๑ แหล่งน้ำ
๙.๑.๑  แหล่งน้ำธรรมชาติ
- ลำห้วย,ลำน้ำ ๙        สาย
- หนองน้ำ          ๖        แห่ง
- สระน้ำ ๙        แห่ง
๙.๑.๒ แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝายน้ำล้น ๕        แห่ง
- บ่อน้ำตื้น ๑        แห่ง
- บ่อบ่อบาดาล ๖๐      แห่ง
-  ใช้ได้ ๒๕      แห่ง
-  ใช้ไม่ได้         ๓๕      แห่ง
-  ประปา ๑๓      แห่ง
-  ใช้ได้  ๙       แห่ง
-  ใช้ไม่ได้         ๑        แห่ง
-  ถังน้ำ  คสล ๙        แห่ง  (ใช้ได้ทั้งหมด)
๙.๒ ป่าไม้   
มีพื้นที่ป่าไม้เหลืออยู่รวม   ๐.๖๔  ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ  ๔๐๐  ไร่ บริเวณหมู่ที่ ๓  บ้านตะโกรี
๑๐. อื่น ๆ (ถ้ามีระบุด้วย)
๑๐.๑  กลุ่มมวลชนจัดตั้ง
- ลูกเสือชาวบ้าน         ๓    รุ่น    ๔๕๐    คน
- ศูนย์อาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ๓    รุ่น    ๑๔๖    คน